วันอังคารที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2554

ขั้นตอนการติดตั้ง Postfix Dovecot POP3 Imap

ขั้นตอนการติดตั้ง Postfix

ติดตั้ง Postfix โดยใช้คำสั่ง

Apt-get   install     postix



หลักจากกด Enter ด้วยการใช้คำสั่งติดตั้ง Postfix จะปรากฏหน้าต่างขึ้นมาให้เรากด Enter


เมื่อทำการกด Enter จะปรากฏหน้าต่างในภาพด้านล่างนี้เราจะทำการเลือกการส่งเมล์ผ่านระบบ Localhost ของเราเอง ให้เลือก Local only แล้วเลือก Ok กด Enter



ขั้นตอนต่อไปให้เรากรอก ค่า FQDN ในที่นี้กรอกเป็น  cfsb.com เลือก OK แล้วกด Enter

หลังจากกำหนดเรียบร้อยแล้วระบบก็จะทำการติดตั้งต่อจนเสร็จ

ต่อมาทำการทดสอบการส่งเมล์
ทดสอบการส่งเมล์ Postfix (SMTP) ว่าทำงานหรือยังโดยใช้คำสั่ง
telnet  localhost  25

หากในการติดตั้งปรากฏข้อความ 250   localhost   แสดงว่าเครื่องพร้อมที่จะรับคำสั่งแล้ว จากนั้นทำการพิมพ์คำสั่งให้ SMTP กรอกชื่ออีเมล์ของผู้ส่งด้วยคำสั่ง

mail  from:<kornerboy@cfsb.com>


ระบบจะตอบเรากลับมาว่า   250   2.1.0  Ok แสดงว่าพร้อมรับคำสั่งต่อไป ให้เราใส่อีเมล์ของผู้รับเข้าไปโดยใช้คำสั่ง

rcpt  to:kornerboy@cfsb.com


หากเห็นข้อความที่หน้าต่างว่า 250  2.1.5  Ok แล้วทำการใส่ข้อมูลให้กับเมล์ได้เลยด้วยการใช้คำสั่ง

Data


ถ้าขึ้นตามรูปด้านบนนี้ให้เราทำการพิมพ์ข้อความที่ต้องการส่งไปให้ผู้รับได้แล้ว


ถ้าทำการพิมพ์ข้อความเสร็จแล้วทำการกด Enter แล้วพิมพ์ . ตามด้วยการกด Enter ถ้าปรากฏข้อความตามรูปนี้แสดงว่าทำการส่งเรียบร้อยให้ออกได้ด้วยการใช้คำสั่ง
quit

เมล์ที่เราทำการส่งมาจะไปอยู่ที่ User ที่เราทำการส่งมาในที่นี้จะอยู่ที่

Nano /var/mail/kornerboy


ขั้นตอนการกำหนดการจัดเก็บข้อมูลของเมล์มีการจัดเก็บเป็น 2 แบบ คือ Mailbox และ Maildir ในที่นี้ได้ทำการตั้งค่าเป็นแบบ Maildir โดยการใช้คำสั่ง

Postconf   -e  ‘home_mailbox   =   Maildir/’


ขั้นตอนการแก้ไขค่าคอนฟิกของ Postfix
หากต้องการแก้ไขค่าคอนฟิกของ Postfix ใหม่  ให้ไปแก้ที่ไฟล์ /etc/postfix/main.cf โดยใช้คำสั่ง

nano   /etc/postfix/main.cf

myhostname = www.cfsb.com
alias_maps = hash:/etc/aliases
alias_database = hash:/etc/aliases
myorigin = /etc/mailname
mydestination = cfsb.com, localhost, localhost.localdomain, localhost
relayhost =
mynetworks = 127.0.0.0/8 [::ffff:127.0.0.0]/104 [::1]/128 192.168.0.0/24
mailbox_size_limit = 0
recipient_delimiter = +
inet_interfaces = all
default_transport = smtp // กำหนดเมื่อต้องการติดต่อออกอินเตอร์เน็ต
relay_transport =  smtp // กำหนดเมื่อต้องการติดต่อออกอินเตอร์เน็ต
home_Maildir/ //กำหนดเมื่อตั้งค่าเมล์เป็นแบบ Maildir กรณีถ้าเป็น Mailboxบรรทัดนี้ไม่มี
inet_protocols = all


เท่านี้การติดตั้ง Postfix ก็เรียบร้อยแล้ว
ต่อไปมาทำการติดตั้ง Dovecot
การติดตั้ง Dovecot โดยใช้คำสั่ง

apt-get install dovecot-common dovecot-imapd  dovecot-pop3d


แก้ไขค่าคอนฟิค dovecot โดยใช้คำสั่ง

nano /etc/dovecot/dovecot.conf

แก้ไขข้อความดังนี้   กดปุ่ม Ctrl + W เพื่อค้นหาข้อความ (หากข้างหน้าข้อความมีเครื่องหมาย   #  ให้ลบเครื่องหมาย # ออก)

    listen = *
    protocols = imap imaps pop3 pop3s
    disable_plaintext_auth = no
    mail_location = mbox:~/mail:INBOX=/var/mail/%u
    login_executable = /usr/lib/dovecot/imap-login
    mail_executable = /usr/lib/dovecot/imap
    ssl = no













รูปด้านล่างนี้ต้องทำการให้เครื่องหมาย # หน้ามันด้วย


เมื่อแก้ไขเสร็จแล้วให้บันทึกไฟล์โดยกดปุ่ม Ctrl + O แล้วกดปุ่ม Enter  จากนั้นออกจากโปรแกรม nano โดยกดปุ่ม Ctrl + X
รีสตาร์ท postfix และ dovecot โดยใช้คำสั่ง

    sudo /etc/init.d/postfix restart
    sudo /etc/init.d/dovecot restart


ทดสอบการทำงานของ imap,php3 โดยใช้คำสั่งtelnet หรือใช้คำสั่ง netstat

ทดสอบ pop3 (ออกจาก telnet โดยใช้คำสั่ง quit)

telnet localhost 110


แล้วพิมพ์ Quit เพื่อออก

telnet localhost 143


แล้วพิมพ์ Quit เพื่อออก ถ้าออกไม่ได้ก็ไม่ต้องตกใจพยายามออกต่อไปแล้วว่าเรียบร้อยแล้ว
ตรวจสอบการทำงานของ port



วันจันทร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2554

การติดตั้ง WireShark บน Ubuntu Server 10.04 LTS

การติดตั้ง WireShark บน Ubuntu Server 10.04 LTS

เข้าไปสู่หน้าต่างของ Ubuntu เพื่อเข้าไปยังหน้า GUI ที่เราติดตั้งผ่านมาแล้วด้วยคำสั่ง

Startx

จากนั้นเข้าไป System > Administration > Synaptic Package Manager


จะปรากฏหน้าต่างของ Synaptic Package Manager ให้ทำการพิมพ์ที่ช่อง Quick search ว่า

Wireshark


แล้วทำการคลิกเครื่องหมายถูกหน้า wireshark


ให้คลิกที่ปุ่ม Mark


ให้ทำการกดปุ่ม Apply ที่ด้านบนตรงเครื่องหมายถูกสีเขียวแล้วรอการ Download Package


หลังจาก Download Package เรียบร้อยแล้วระบบจะทำการติดตั้ง ให้เราเลยรอสักครู่


พอทำการติดตั้งเสร็จสมบูรณ์แล้วเข้าไปที่ Applications > Internet > Wireshark


รูปด้านล่างนี้คือหน้าตาของ Wireshark


ต่อไปทดสอบการดักข้อมูลดู


การติดตั้ง GUI บน Ubuntu Server 10.04 LTS

การติดตั้ง GUI บน Ubuntu Server 10.04 LTS

ทำการ Login เข้าสู่ระบบก่อน ทำการ Update  และ ทำการ Upgrade โดยใช้คำสั่ง

Apt-get update
Apt-get upgrade -y
Apt-get dist-upgrade  -y

หลังจากทำการ Update และ Upgrade เรียบร้อยแล้วทำการติดตั้ง แพ็คเกจสำหรับบริหารจัดการเกี่ยวกับการ Update โดยใช้คำสั่ง

Apt-get install update-manager


เมื่อทำการติดตั้งระบบจะถามการติดตั้งให้พิมพ์ Y แล้วกด Enter รอสักครู่


ต่อไปเป็นการติดตั้ง GUI แบบ Gnome
การติดตั้ง GUI แบบ Gnome โดยการใช้คำสั่ง

Apt-get install gnome-core xorg



การติดตั้งที่ผ่านมาอาจใช้เวลานานหน่อย ต่อมาเรามาทำการติดตั้งภาษาไทยให้กับ GUI โดยใช้คำสั่ง

Apt-get install language-pack-gnome-th-base language-pack-gnome-th language-support-th


ระบบจะถามเราให้เราพิมพ์ Y แล้วกด Enter แล้วก็รอสักครู่
ติดตั้ง themes ให้กับ GUI แบบ Gnome ด้วยคำสั่ง

Apt-get install gnome-themes gnome-themes-extras


ระบบจะถามเราให้พิมพ์ Y แล้วกด Enter
ติดตั้ง GUI Network Admin Tool ด้วยคำสั่ง

apt-get install gnome-nettool gnome-network-admin gnome-system-tools


ระบบจะถามเราให้พิมพ์ Y แล้วกด Enter
ติดตั้ง Web Browser Firefox ด้วยการใช้คำสั่ง

apt-get install firefox


ระบบจะถามเราให้พิมพ์ Y แล้วกด Enter
ติดตั้งเครื่องมือ Partition Management ด้วยการใช้คำสั่ง

 apt-get install gparted  ntfs-3g  ntfs-config   libntfs*


ระบบจะถามเราให้พิมพ์ Y แล้วกด Enter
การติดตั้งเครื่องช่วยบริหารจัดการ MySQL Server ด้วยการใช้คำสั่ง

Apt-get install mysql-admin mysql-gui-tools-common


ระบบจะถามเราให้พิมพ์ Y แล้วกด Enter
ต่อมาติดตั้งเครื่องช่วยในการ Backup

Apt-get install sbackup


ระบบจะถามเราให้พิมพ์ Y แล้วกด Enter
เท่านี้การติดตั้ง GUI บน Ubuntu Server ก็เรียบร้อยแล้ว  ลองทดสอบด้วยการพิมพ์คำสั่ง

Startx


กด Don’t Delete เท่านี้ก็เป็น GUI แล้วถ้าต้องการออกก็เลือก Logout ก็เรียบร้อยแล้ว